ระบบกรองน้ำประปาหมู่บ้าน

ระบบประปาหมู่บ้านคือ

การที่ภาครัฐได้ให้ความสำคัญ ของการอุปโภค บริโภคน้ำที่สะอาดและถูกหลักอนามัย ของชุชในื้นที่ต่างๆในประเทศ โดยให้หน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบเป็นผู้ดำเนินการหาแหล่งน้ำได้แก่เทศบาล อบต,อบจ,เป็นต้น ไม่ว่าจะเป็นน้ำผิวดินจาก ลำธาร แม่น้ำ ห้วย หนอง คลอง บึง อ่างเก็บน้ำเป็นต้น รวมถึงการใช้น้ำบาดาล เพื่อนำมาผลิตเป็นน้ำสะอาดสำหรับชุมชน 

ขั้นตอนการออกแบบน้ำประปาหมู่บ้านของอบต. เทศบาล กรมทรัพยากรน้ำบาดาล ขึ้นอยู่กับปัจจัยดังต่อไปนี้

1.แหล่งน้ำที่จะนำมาผลิตเป็นน้ำประปา

2.งบประมาณที่ทางภาครัฐจัดสรรให้แก่อบต.หรือหมู่บ้านะ

3.คุณภาพน้ำดิบ

4.ปัจจัยเกี่ยวกับพื้นที่

5.กฎหมายเกี่ยวกับการใช้น้ำ

ค่าน้ำที่ต้องบำบัดน้ำสำหรับประปาหมู่บ้านปกติจะมีค่าน้ำที่เกี่ยวของดังนี้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับพื้นที่ในแต่ละภูมิภาคนั้นๆ

ค่าน้ำดิบที่มักทำให้เกิดปัญหาในการนำน้ำดิบมาใช้สำหรับประปาหมู่บ้านได้แก่ค่าน้ำดังต่อไปนี้

-ค่าความขุ่นของน้ำซึ่งมักเกิดจากการนำน้ำผิวดินมาบำบัดแล้วไม่สมบูรณ์ ซึ่งระบบประปาสมัยเก่าจะเป็นระบบประปาเเบบคลองวนเวียน

-ค่าตะกอน รวมถึงกลิ่นสี ในน้ำ

-ค่าสนิมเหล็กและหินปูนในน้ำ มักเกิดขึ้นจากการใช้น้ำบาดาลมาผลิตเป็นน้ำประปา ค่าเหล่านี้จะมากน้อยขึ้นอยู่กับภูมิศาสตร์ของพื้นที่นั้นๆบางพื้นที่อาจมีค่าใดค่าหนึ่งสูงเพียวอย่างเดียวหรือทั้ง 2 ค่า

-ค่าความเค็มหรือน้ำกร่อย มักพบที่บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และริมทะเล

-ค่าโลหะหนักปนเปื้อนในน้ำ พบเป็นบางพื้นที่ เช่นพื้นที่ๆมีการทำเหมืองแร่ หรือพื้นที่เกษตรกรรมที่ใช้ยาฆ่าแมลง

-ค่าฟลูออไรด์ มักพบบริเวณภาคเหนือของประเทศ และบางพื้นที่ 

-ค่าสารละลายในน้ำสูง มักพบพื้นที่บนเกาะ ริมทะเล หรือบางพื้นที่

-กลิ่นในน้ำที่เกิดจากก๊าซไข่เน่า

นอกจากนี้อาจมีแร่ธาตุบางตัวที่ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆได้อีก

ตัวอย่างวิธีจัดการกับน้ำที่มีปัญหาเหล่านี้ดังต่อไปนี้

ระบบประปาหมู่บ้านคือ

การที่ภาครัฐได้ให้ความสำคัญ ของการอุปโภค บริโภคน้ำที่สะอาดและถูกหลักอนามัย ของชุชในื้นที่ต่างๆในประเทศ โดยให้หน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบเป็นผู้ดำเนินการหาแหล่งน้ำได้แก่เทศบาล อบต,อบจ,เป็นต้น ไม่ว่าจะเป็นน้ำผิวดินจาก ลำธาร แม่น้ำ ห้วย หนอง คลอง บึง อ่างเก็บน้ำเป็นต้น รวมถึงการใช้น้ำบาดาล เพื่อนำมาผลิตเป็นน้ำสะอาดสำหรับชุมชน 

ขั้นตอนการออกแบบน้ำประปาหมู่บ้านของอบต. เทศบาล กรมทรัพยากรน้ำบาดาล ขึ้นอยู่กับปัจจัยดังต่อไปนี้

1.แหล่งน้ำที่จะนำมาผลิตเป็นน้ำประปา

2.งบประมาณที่ทางภาครัฐจัดสรรให้แก่อบต.หรือหมู่บ้าน

3.คุณภาพน้ำดิบ

4.ปัจจัยเกี่ยวกับพื้นที่

5.กฎหมายเกี่ยวกับการใช้น้ำ

ค่าน้ำที่ต้องบำบัดน้ำสำหรับประปาหมู่บ้านปกติจะมีค่าน้ำที่เกี่ยวของดังนี้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับพื้นที่ในแต่ละภูมิภาคนั้นๆ

ค่าน้ำดิบที่มักทำให้เกิดปัญหาในการนำน้ำดิบมาใช้สำหรับประปาหมู่บ้านได้แก่ค่าน้ำดังต่อไปนี้

-ค่าความขุ่นของน้ำซึ่งมักเกิดจากการนำน้ำผิวดินมาบำบัดแล้วไม่สมบูรณ์ ซึ่งระบบประปาสมัยเก่าจะเป็นระบบประปาเเบบคลองวนเวียน

-ค่าตะกอน รวมถึงกลิ่นสี ในน้ำ

-ค่าสนิมเหล็กและหินปูนในน้ำ มักเกิดขึ้นจากการใช้น้ำบาดาลมาผลิตเป็นน้ำประปา ค่าเหล่านี้จะมากน้อยขึ้นอยู่กับภูมิศาสตร์ของพื้นที่นั้นๆบางพื้นที่อาจมีค่าใดค่าหนึ่งสูงเพียวอย่างเดียวหรือทั้ง 2 ค่า

-ค่าความเค็มหรือน้ำกร่อย มักพบที่บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และริมทะเล

-ค่าโลหะหนักปนเปื้อนในน้ำ พบเป็นบางพื้นที่ เช่นพื้นที่ๆมีการทำเหมืองแร่ หรือพื้นที่เกษตรกรรมที่ใช้ยาฆ่าแมลง

-ค่าฟลูออไรด์ มักพบบริเวณภาคเหนือของประเทศ และบางพื้นที่ 

-ค่าสารละลายในน้ำสูง มักพบพื้นที่บนเกาะ ริมทะเล หรือบางพื้นที่

-กลิ่นในน้ำที่เกิดจากก๊าซไข่เน่า

นอกจากนี้อาจมีแร่ธาตุบางตัวที่ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆได้อีก

ตัวอย่างวิธีจัดการกับน้ำที่มีปัญหาเหล่านี้ดังต่อไป

 -รูปแบบการนำน้ำผิวดินมาผลิตเป็นน้ำประปาของเทศบาล อบต.ที่มีกำลังการผลิตน้ำสำหรับผู้อยู่อาศัยหลายครัวเรือน โดยมีแหล่งน้ำธรรมชาติที่มีปริมาณเพียงพอในการผลิตประปาให้ชุมชน

 

-รูปแบบชุดกรองตะกอนและกลิ่นสีในน้ำ กลิ่น สี ในน้ำ สำหรับอบต.เทศบาล ในพื้นที่ รวมถึงภาพล่างเราสามารถเพื่มถาดเติมอากาศ เพื่อใช้ ออกซิเจนเป็นตัวออกซิไดซ์ค่าเหล็กในน้ำเหพื่อทำให้ค่า Fe เปลี่ยนเป็นตะกอนสนิมเหล็กและตกตะกอนต่อไป

 

 -รูปแบบชุดกรองตะกอนและกลิ่นสีในน้ำ กลิ่น สี สนิมเหล็ก รวมถึงกำจัดหินปูนในน้ำ สำหรับอบต.เทศบาลที่มีปัญหา

-รูปแบบชุดกรองตะกอนและกลิ่นสีในน้ำ กลิ่น สี ในน้ำ สำหรับอบต.เทศบาล ในพื้นที่ รวมถึงภาพล่างเราสามารถเพื่มถาดเติมอากาศ เพื่อใช้ ออกซิเจนเป็นตัวออกซิไดซ์ค่าเหล็กในน้ำเหพื่อทำให้ค่า Fe เปลี่ยนเป็นตะกอนสนิมเหล็กและตกตะกอนต่อไป

 
-ชุดกำจัด โลหะหนัก แร่ธาตุต่างๆที่มีค่าเกินมาตรฐาน รวมถึงกำจัดน้ำกร่อย ลดความเค็มในน้ำ สำหรับชุมชนที่อยู่ในการดูแแลของอบจ.อบต.เทศบาล
 
Visitors: 125,704